Oops...
Slider not found.
วางแผนงานกับเรา? รับข้อเสนอ
มาทำความเข้าใจกับ พาวเวอร์เฟกเตอร์
นิยาม
- kVA, kVAR, kW, กำลังไฟฟ้าปรากฎ กับ กำลังไฟฟ้าจริง
- การคำนวณ การวัดค่า
- การแก้ค่าพาวเวอร์เฟกเตอร์
ผลกระทบที่เกิดจาก พาวเวอร์เฟกเตอร์
- ความสูญเสียที่เกิดจากกระแส (I2 R losses)
- การเลือกขนาดอุปกรณ์
- ถูกปรับค่า กิโลวาร์
ปัญหาเมื่อติดตั้ง คาปาซิเตอร์เข้าไป
- เกิดสภาวะเรโซแนนซ์(Harmonic resonance)
- แรงดันที่สูงขึ้น
ค่าพาวเวอร์เฟกเตอร์ กับ ปัจจัยที่เกิดจากโหลด
สมาร์ทคาปาซิเตอร์และเครื่องกำเนิดวาร์
สมาร์ทคาปาซิเตอร์(Smart Capacitor)
เป็นคาปาซิเตอร์ที่มีติดตั้งไมโครคอนโทรลเลอร์อยู่ภายใน มีเซอร์กิตเบรคเกอร์ มีสวิตซ์ที่ตัดต่อโดยไม่มีกระแสไหลผ่าน วงจรป้องกันแรงดันเกิน วงจรป้องกันความร้อนสูงเกิน มีหน้าจอ แอลซีดี และปุ่มตั้งค่า
เครื่องกำเนิดวาร์(Static Var Generator:SVG)
เป็นอุปกรณ์ที่ผลิตวาร์ เพื่อจ่ายเข้ามาในระบบเพื่อแก้พาวเวอร์เฟกเตอร์ ใช้เทคโนโลยี IGBT สามารถจ่ายค่าวาร์ได้ต่อเนื่องไม่มี สเตปซ์(stepless) ทำให้แก้ค่าพาวเวอร์เฟกเตอร์ให้เป็น 1.0 ได้
วิเคราะห์โครงการประหยัดพลังงาน
การแก้ค่าพาวเวอร์เฟกเตอร์
ให้มีค่าสูงขึ้นสามารถช่วยลดค่าสูญเสียที่เกิดจากกระแส.นหม้อแปลงไฟฟ้า ในสายไฟที่ลากจากหม้อแปลงมาตู้จ่ายไฟหลัก(MDB)และตู้จ่ายไฟย่อยได้(LDB) ทำให้ลดต้นทุนการผลิตได้และยังช่วยให้เพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักรได้อีกด้วย การแก้ค่าพาวเวอร๋เฟกเตอร์เป็นสิ่งแรกที่เราสามารถทำได้ง่ายและจะทราบผลทันทีหลังจากติดตั้ง ในส่วนนี้จะเป็นตัวอย่างการคำนวณค่าพลังงานที่ประหยัดได้และจำนวนเงินจากค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้หลังจากแก้ค่าพาวเวอร์เฟกเตอร์จากเดิม 0.7 เป็น 1.0 ของหม้อแปลงขนาด 1000kVAโดยกำหนดให้มีโหลดอยู่ที่ 700kVA